thailandica

ต้นหยาดลิ้นงาม พรรณไม้ถิ่นเดียวของไทย ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง

หยาดลิ้นงาม คืออะไร? ต้นหยาดลิ้นงาม ชื่อวิทยาศาสตร์ Microchirita personata C. Puglisi อยู่ในวงศ์ชาฤาษี Gesneriaceae คำระบุชนิด “personata” มาจากลักษณะกลีบดอกรูปปากเปิด (bilabiate) ที่กลีบซีกบนและซีกล่างอยู่ชิดกันมากเนื่องจากกลีบซีกล่างโค้งนูนขึ้น (personate corolla) หยาดลิ้นงาม เป็นพรรณไม้ถิ่นเดียวของไทย (endemic) พบเฉพาะแถบตะวันตกของไทย จัดอยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง (Critically Endangered) ดูเพิ่มเติม ↓ เมล็ดพันธุ์ดอกไม้ป่าคละพันธุ์ 7ชนิด ลักษณะหยาดลิ้นงาม ไม้ล้มลุกอายุปีเดียว สูงได้ถึง 40 ซม. ลำต้นอวบน้ำ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก กว้าง 3-30 ซม. ยาว 4-40 ซม. ปลายแหลมถึงเรียวแหลม โคนมนกลมหรือบางครั้งกึ่งรูปหัวใจ ขอบเรียบ แผ่นใบบางคล้ายกระดาษ มีขนทั้ง 2 ด้าน ดอกหยาดลิ้นงาม ช่อดอกออกที่โคนเส้นกลางใบ ก้านช่อดอกสั้นมาก ดอกขนาดเล็ก กลีบซีกบนสีเขียว ซีกล่างสีขาว มีแต้มสีเหลืองที่โคนกลีบกลาง หยาดลิ้นงามตีพิมพ์เป็นพืชชนิดใหม่ของโลก ในวารสาร Kew Bulletin ของสวนพฤกษศาสตร์คิว เล่มที่ Kew Bull. 71(1)-2: 1 ปี 2016 ตัวอย่างต้นแบบ หมายเลข Middleto

ต้นพุดชมพู ดอกพุดของไทย ลักษณะ ออกดอกช่วงเดือนไหน?..

พุดชมพู คืออะไร? พุดชมพู ชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Kopsia rosea D.J.Middleton จัดเป็นพืชในสกุล Kopsia อยู่ในวงศ์โมก (Apocynaceae) ซึ่งพันธุ์พืชนี้ ทางเราจัดไว้ในกลุ่มไม้ดอก ชื่อไทย ที่เป็นชื่อทางการ ของพืชชนิดนี้ มีชื่อไทยว่า " พุดชมพู " (อ้างอิงจากข้อมูลชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย; เต็ม สมิตินันท์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557) ต้นพุดชมพู เป็นพืชที่มีความจำเพาะกับระบบนิเวศเขาหินปูน ในประเทศไทย แหล่งที่พบในป่าดิบบนเขาหินปูน ที่ความสูง 50-100 ม. จากระดับทะเล ดูเพิ่มเติม ↓ ต้นพุดชมพู แบบตอนกิ่ง ราคาถูก » การกระจายพันธุ์ การกระจายพันธุ์ของพุดชมพู พบกระจายพันธุ์ทางภาคใต้ของไทย ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี พังงา สตูล และกระบี่ ในต่างประเทศพบที่มาเลเซีย พุดชมพู ออกดอกช่วงเดือนไหน ต้นพุดชมพู ออกดอกประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม เป็นผลประมาณเมษายนถึงพฤษภาคม ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพุดชมพู ลักษณะวิสัย : ไม้ต้น สูงประมาณ 10 ม. ลำต้น : กิ่งก้านเกลี้ยง มีช่องอากาศหรือไม่มี ใบ : ใบเดี่ยว หนา เกลี้ยง รูปรี กว้าง 2.3-11 ซม. ยาว 4.7-27.5 ซม. ปลายเร

วิธีการรักษา ป้องกัน อาการปวดหัว ไมเกรน การกินยาแก้ปวดหัว.

ไมเกรน (Migraine) คืออะไร อาการไมเกรน พบบ่อยในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีลักษณะปวดเป็นพักๆ อาจจะมีประวัติในครอบ ครัว เริ่มเป็นในช่วงวัยรุ่นถึงสามสิบปี วินิจฉัยไมเกรนโดยใช้ลักษณะอาการทางคลินิก อาการปวด ศีรษะแบบไมเกรนมักจะมีรูปแบบที่ซ้ำๆ ในแต่ละคน ไมเกรนชนิดมีอาการเตือน เรียกว่า migraine with aura ในกรณีที่มีอาการปวดศีรษะไมเกรนติดต่อกันนานเกิน 72 ชั่วโมง เรียกว่า status migrainosus กรณีที่บางรายมีประวัติเป็นไมเกรนมานาน ต่อไปไม่มีอาการปวดศีรษะ เหลือแต่เพียงอาการเตือนโดยเฉพาะอาการทางตา (visual aura) ซึ่งมักพบในผู้หญิง เรียกว่า migrainous equivalence ดูเพิ่มเติม ↓ แมกนีเซียม ลดอาการปวดไมเกรน » การวินิจฉัยแยกโรคไมเกรน ชนิดที่มีอาการเตือนออกจาก transient ischemic attack (TIA) ได้แก่ ลักษณะอาการจะค่อยๆ เป็น ระยะเวลาน้อยกว่า 60 นาที เคยมีอาการมาก่อน ในขณะที่ TIA มักมีปัจจัยเสี่ยงเรื่อง stroke และอาการที่เป็นจะทันทีทันใด เป็นนานกว่าชั่วโมงไม่เกิน 24 ชั่วโมง และไม่เคยมีอาการมาก่อน การรักษา แบ่งเป็น 2 ส่วน 1. การรักษาอาการปวดศีรษะ (abortive therapy) ควรแน

วิธีรักษา อาการนิ้วล็อค นิ้วติดสะดุด ข้อนิ้วติดงอ เกิดจากอะไร?..

โรคนิ้วติดสะดุด นิ้วล็อค หรือ ข้อนิ้วติดงอ คืออะไร? โรคนิ้วติดสะดุด นิ้วล็อก หรือ ข้อนิ้วติดงอ (Trigger finger ) เป็นความผิดปกติของนิ้วมือที่พบได้บ่อยที่สุด มักพบในคนทำงานที่ใช้มือในท่า กำบีบ อย่างแรง และ ซ้ำๆ บ่อยๆ ทำให้เกิดการอักเสบระหว่าง ปลอกหุ้มเอ็น และเส้นเอ็นทางด้านฝ่ามือที่ทำหน้าที่ในการงอนิ้วมือที่บริเวณโคนนิ้วมือนั้นๆ จนทำให้ปลอกหุ้มเอ็นหนาตัวขึ้น เส้นเอ็นเคลื่อนผ่านไปมาไม่สะดวก เกิดการฝืด ขัด เจ็บ และสะดุดเวลางอและเหยียดนิ้วมือ ถ้ามีอาการมากขึ้นจะพบว่า เมื่องอหรือกำนิ้วมือเข้ามา จนสุด จะมีเสียงดัง "กิ๊ก” แล้วนิ้วจะติดงออยู่อย่างนั้น ไม่สามารถเหยียดออกเองได้ ต้องใช้มืออีกข้างมาช่วย ง้างนิ้วมือนั้นเหยียดออก ซึ่งจะมีอาการปวดที่โคนนิ้วมาก ดูเพิ่มเติม ↓ เฝือกดามนิ้วล็อค เสริมแกนเหล็ก » โรคนี้พบบ่อยในวัยกลางคน และเพศหญิงพบ มากกว่าเพศชาย โรคนี้สามารถพบร่วมกับโรคอื่นๆ ได้แก่ โรคเบาหวาน สตรีตั้งครรภ์และหลังคลอด ผู้ป่วยที่ขา ไม่ดี (เข่าเสื่อม สะโพกเสื่อม ฯลฯ ) ที่ต้องใช้อุปกรณ์ช่วย เดินเช่น ไม้เท้า ไม้ค้ำยัน (ทำให้ฝ่ามือต้องกดจับด้าม) สา

ปูเสฉวนบก กินอะไรเป็นอาหาร นิสัยการกิน ลักษณะ ลอกคราบ?

ปูเสฉวนบก คืออะไร ปูเสฉวนบก อยู่ในสกุล Coenobita (มาจากคำในภาษาละตินว่า COENOBIVM และคำในภาษากรีกโบราณว่า κοινόβιον แปลว่า "ชีวิตในประชาคม, อาราม") มีลักษณะก้ำกึ่งระหว่างปูและกุ้ง ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5 นิ้ว มีขาทั้งหมด 10 ขาเช่นเดียวกับปูทะเล ส่วนท้ายลำตัวมีลักษณะอ่อนนุ่มทำให้ต้องอาศัยอยู่ในเปลือกหอยเพื่อป้องกันตัวและให้ความชุ่มชื้นแก่ร่างกาย ปูเสฉวนบก จมน้ำตาย? ปูเสฉวนบกไม่สามารถที่จะอาศัยอยู่ในน้ำเป็นระยะเวลานาน เนื่องจากระบบการหายใจถูกพัฒนาให้รับออกซิเจนโดยตรง ถ้าลงไปในน้ำจะจมน้ำตายได้ แต่จะต้องลงไปกินน้ำทะเลเพื่อรับแคลเซี่ยมและเกลือแร่ให้กับร่างกาย อีกทั้งยังต้องการน้ำจืดเพื่อการอยู่รอดอีกด้วย กินซากพืช ซากสัตว์เป็นอาหารเหมือนปูเสฉวนทั่วไป และมักหากินในช่วงเวลากลางคืนมากกว่าช่วงเวลากลางวัน โดยช่วงเวลากลางวันมักหลบอยู่ตามใต้กองใบไม้ที่มีความชุ่มชื้น ดูเพิ่มเติม ↓ มอสสด มอสลี้ยงปูเสฉวน ราคาถูก » ลักษณะเฉพาะของปูเสฉวนบก ลำตัวส่วนหน้าของปูเสฉวนบกปกคลุมด้วยเปลือกไคตินที่แข็งเหมือนปูทั่วไป ส่วนท้องมีลักษณะที่ยาวและนุ่มกว่า ทำให้สามาร

สภาพแวดล้อม และปัญหาที่พบบ่อยในการใช้ยาในปลาสวยงาม.

การดูแลสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการรักษาโรคและความเจ็บป่วยของปลา ถือเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด เพราะปลาเป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในน้ำตลอดเวลา ดังนั้น กิจกรรมในการดำรงชีวิต เช่น การกิน การหายใจ การขับถ่าย และการสืบพันธุ์ล้วนอาศัยน้ำเป็นสื่อกลาง หากสภาพน้ำที่เลี้ยงไม่เหมาะกับการดำรงชีวิต การดำรงชีวิตแบบปกติในปัจจุบัน ก็จะส่งผลต่อความเจ็บป่วยของปลาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะปลาป่วยที่มีสุขภาพไม่ดี พวกเขาต้องการสภาพแวดล้อมที่ดีกว่าปลาธรรมดาที่มีความแข็งแกร่งมากกว่า ผู้เพาะพันธุ์ปลาที่ดีจึงต้องศึกษาชีววิทยาของปลาแต่ละชนิดที่จะเลี้ยงเพื่อดูว่าจะเลี้ยงในสภาพแวดล้อมดังกล่าวได้อย่างเหมาะสมเพียงใด อาจศึกษาได้จากตำราการเลี้ยงปลา ถามจากผู้มีประสบการณ์ หรือสังเกตจากการทดลองเลี้ยงเอง ดังนั้นเราจะรู้และเข้าใจว่าปลาแต่ละชนิดต้องการสภาพแวดล้อมแบบใด ดูเพิ่มเติม ↓ จุลินทรีย์ปรับสภาพน้ำใส ราคาถูก » สภาพแวดล้อมที่ดี สภาพแวดล้อมที่ดี หมายถึง สภาพน้ำที่สะอาด มีออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเป็นจำนวนมาก มีอินทรียวัตถุในน้ำเล็กน้อย ไม่มีสิ่งมีชีวิตแปลกปลอมอื่น ๆ ในพิพิธภัณฑ์สั

วิธีเลือกอาหารเม็ดกระต่าย เลือกแบบไหนดี มีกี่แบบ ยี่ห้อไหนดี.

อาหารเม็ดกระต่าย ควรเป็นอย่างไร อย่าถูกใครเขาหลอก!  ที่ต้องขึ้นหัวข้อแบบนี้เพราะการตลาดในปัจจุบันใช้หลักการแทรกแซงและบิดเบือนความเป็นจริงตามหลักวิชาการ และขัดกับผลการตรวจสุขภาพในทางคลินิก แม้กระทั่งหลอกให้เข้าใจว่าอาหารชนิดนั้น ๆ เหมาะสมทั้งที่อาจเป็นอันตราย และเมื่อต้องทำการตลาดจึงแทรกแซงในกลุ่มผู้เลี้ยง และให้ข้อมูลที่ไม่เหมาะสมและทำให้เข้าใจผิด ทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจเพราะขาดความรู้จริงและอยากแสดงความคิดเห็น  เนื่องจากอาหารกระต่ายมีวิวัฒนาการมาไกลมากแล้ว จึงไม่ควรย้อนกลับไปให้ใครเขาหลอกได้ และบางคนถึงขนาดบอกว่าอาหารนี้สัตวแพทย์แนะนำก็จริง แต่ก็ไม่น่าเชื่อ เพราะอาหารกระต่ายต้อง.... ไร้แป้ง (จริงหรือ? ถูกใครเขาหลอกมาหรือไม่?) ต้องกินยี่ห้อนี้ถึงจะดี ดีจริงหรือ? หรือบ้างบอกว่าสัตวแพทย์นั้นไม่รู้อะไร และอ้างสรรพคุณว่าอาหารแบบนี้ถึงจะช่วยขัดฟัน ทั้งที่การขัดฟันขึ้นกับลักษณะของเม็ดและสัดส่วนของวัตถุดิบประกอบกัน เพราะการตลาดแบบนี้ อาหารที่ใช้คำว่าสัตวแพทย์แนะนำนั้นยังสู้คนขายเล่าไม่ได้ หรือแม้กระทั่งอาหารที่ผ่านการวิจัยมาแล้วก็ยังไม่สู้ที่ผลิตออกมาง

ต้นกระทือ ประโยชน์ สรรพคุณ ยาสมุนไพร องค์ประกอบทางเคมี

กระทือ คืออะไร กระทือ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Zingiber zerumbet (L.) Sm. จัดอยู่ในวงศ์ ZINGIBERACEAE ชื่ออื่น ๆ ได้แก่ shampoo ginger, wild ginger คือ หัวคือ กะทือป่า กะแวน กะแอน เฮียวขา เฮียวดำ เฮียวแดง และแฮวดำ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ กระทือ เป็นพืชล้มลุก เหง้ามีสีขาวอมเหลือง มีกลิ่นฉุน ลำต้นสูงประมาณ 2 ม. ใบจะออกซ้อนกันเป็นแผง ใบเรียวยาว สีเขียวแก่ ดอกออกเป็นช่อ โผล่พ้นขึ้นจากหัวใต้ดิน ช่อก้านดอก ยาว ส่วนปลายมีกลีบเลี้ยงสีเขียวปนแดงซ้อนกันอยู่แน่น กลีบดอกมีสีขาวนวลแทรกอยู่ตามเกล็ด กระจายพันธุ์ พบทั่วไปในทวีปเอเชียเขตร้อน ในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาค มีปลูกตามสวน ขึ้นตามป่าดิบชื้นทั่วไป ในฤดู แล้งลำต้นจะแห้งยุบตัวลง เมื่อถึงฤดูฝนจะแทงหน่อขึ้นมาใหม่ สามารถนำหน่ออ่อน เนื้ออ่อนในลำต้น และช่อ ดอกอ่อน มาประกอบอาหาร นำมาแกง รับประทานกับน้ำพริก ผัด หรือยำ เป็นต้น สำหรับการเก็บเกี่ยวเหง้า กระทือสำหรับใช้ทำยา นิยมเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ง ระหว่างเดือนธันวาคม - เมษายน หน่ออ่อน เนื้ออ่อนในลำต้น และช่อดดอกอ่อน ใช้ประกอบอาหาร นำมาแกง รับประทานกับน้ำพริก ผัด หรือยำ เ

ต้นข่าไฟ, ตาเหินไฟ,ข่าดง ออกดอกช่วงไหน ลักษณะ ประโยชน์

ข่าไฟ คืออะไร? ต้นข่าไฟ ชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Hedychium coccineum Buch.-Ham. ex Sm. เป็นพรรณไม้ในวงศ์ขิง Zingiberaceae มีชื่ออื่นว่า ตาเหินไฟ, ข่าดง คำระบุชนิด “ coccineum ” แปลว่าสีเลือดหมูหรือแดงเข้ม ต้นข่าไฟ เป็นพรรณไม้ที่พบตั้งแต่เทือกเขาหิมาลัย อินเดีย เนปาล บังคลาเทศ ถึงเมียนมา จีนตอนใต้ และเวียดนาม ในไทยพบตามป่าดิบเขาทางภาคเหนือ เขาหินปูนเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ดูเพิ่มเติม ↓ ต้นพันธุ์ข่าแดง พร้อมปลูก ราคาถูก » ลักษณะข่าไฟ ไม้ล้มลุกอายุหลายปี ลำต้นเทียมเนือดินสูงได้ถึง 2 ม. มีเหง้า ใบเดี่ยว เรียงสลับระนาบเดียว รูปขอบขนาน กว้าง 3-7 ซม. ยาว 50-60 ซม. ปลายเรียวแหลม โคนรูปลิ่มหรือสอบเรียว ขอบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ก้านใบสั้น ดอกข่าไฟ ออกดอกช่วงไหน ช่อดอกออกที่ปลายลำต้นเทียม ตั้งขึ้น ดอกสีแดงอมส้มสวยงาม ออกดอกบานในช่วงฤดูฝน ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม ตีพิมพ์ ข่าไฟเป็นงานตีพิมพ์ของ บูคานัน แฮมิลตัน (Francis Buchanan-Hamilton) และ เจมส์ สมิธ (James Edward Smith) ตีพิมพ์เป็นพรรณไม้ชนิดใหม่ของโลกใน Cyclopaedia, T

ต้นลัดดาวัลย์ (ลดาวัลย์) วิธีปลูกให้ออกดอก ชอบแดดไหม ราคา

เนื้อหาข้อมูล ต้นลัดดาวัลย์ คือต้นอะไร ลัดดาวัลย์ ภาษาอังกฤษ ต้นลัดดาวัลย์ ซื้อที่ไหน ราคาถูก ลักษณะ ลัดดาวัลย์ ต้นลัดดาวัลย์ ชอบแดดไหม วิธีปลูกต้นลัดดาวัลย์ ให้ออกดอก ประโยชน์ ลัดดาวัลย์ ต้นลัดดาวัลย์ คือต้นอะไร ต้นลัดดาวัลย์ คือพรรณไม้ที่ลักษณะเป็นไม้เลื้อย ที่มีลักษณะเด่นคือ ช่อดอกที่ออกเป็นพวงดอกสีขาว พราวสวยงาม เหมือนหิมะที่ค้างอยู่บนใบไม้ ดอกมีกลิ่นหอม ส่งกลิ่นหอมโชย จึงนิยมปลูกเป็นไม้ประดับเลื้อยขึ้นซุ้ม หรือ แนวรั้วบ้าน ชื่อพรรณไม้ ชื่อไทยที่เป็นชื่อทางการ คือ ลดาวัลย์  ซึ่งอ้างอิงตามข้อมูลชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย โดย เต็ม สมิตินันทน์ (ฉบับแก้ไขปรับปรุง พ.ศ. 2557) และยังมีชื่ออื่น ที่เป็นชื่อพื้นเมือง หรือ ชื่อท้องถิ่น อีกหลายชื่อ เช่น ลัดดาวัลย์ , ลดา, นดา, กะลาเผือก, มอกหันเซะ เป็นต้น ต้นลดาวัลย์ มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ข้อมูลจากผลการค้นหาในกูเกิล พบว่า คนไทยส่วนใหญ่นิยมใช้ชื่อว่า "ลัดดาวัลย์" มากกว่า ลดาวัลย์ ดังนั้นในบทความนี้ เราจึงขอใช้ชื่อว่า ลัดดาวัลย์ ตามความนิยม ต้นลัดดาวัลย์

ไอเดีย แบบบ้านผู้สูงอายุ สร้างบ้านแบบไหนดี สำหรับคนสูงอายุ.

แบบบ้านผู้สูงอายุ แบบไหนดี? แบบบ้านผู้สูงอายุ ก่อนที่จะเริ่มสร้างบ้านสิ่งที่ต้องคำนึงนอกจากความสวยงาม แข็งแรง ทนทาน แล้ว ยังมีอีกเรื่องที่ควรคำนึงถึงคือเรื่องการรองรับผู้สูงอายุด้วย เพราะวันหนึ่งข้างหน้าเราจะมั่นใจได้อย่างไรว่าคนในครอบครัวจะไม่เกิดเหตุการณ์ใดๆขึ้น หรือแม้กระทั่งพ่อแม่ของเราเองในวันหนึ่งท่านก็ต้องเป็นผู้สูงอายุ การอาศัยบ้านแบบปกติทั่วไปก็จะทำให้อยู่ลำบากมากขึ้น ฉะนั้นเราจึงควรสร้างบ้านเพื่อรองรับผู้สูงอายุ หรือคนพิการเผื่อไว้ วันนี้เราจึงนำไอเดียมาฝากกัน เพื่อที่ใครกำลังคิดจะสร้างบ้านจะได้นำไอเดียตรงนี้ไปต่อยอดปรับให้เหมาะสมกับคนในครอบครัวคะ ดูเพิ่มเติม ↓ แบบบ้านโมเดิร์นชั้นเดียว ราคาถูก » 1. ทางเข้าบ้าน จุดแรกที่ถือได้ว่าเป็นจุดที่สำคัญต้องนึกถึงเป็นอันดับแรกก็คือทางเข้าบ้าน ควรที่จะทำทางลาดเอียงไว้จะเห็นได้ว่าปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นห้างสรรพสินค้า,โรงพยาบาล หรือสถานที่สำคัญต่างๆก็จะมีการทำทางลาดเอียงไว้เพื่อให้ผู้สูงอายุหรือผู้พิการที่ต้องนั่งรถเข็นจะได้เข้าพื้นที่ได้อย่างสะดวก โดยควรให้มีความกว้างไม่ต่ำกว่า 90 ซม.และมีอันตราส่วนควา

วิธีแก้ ปัญหา ความชื้นที่ผนังบ้าน ติดแนวรั้ว เป็นเชื้อรา สีถลอก...

ผนังบ้าน การต่อเติมให้ชิดแนวรั้วหรือบางบ้านใช้แนวรั้วเป็นผนังบ้านไปด้วยเลยนั้น เรามักจะพบเห็นในหมู่ของคนที่ซื้อบ้านเดี่ยวหรือทาวน์เฮ้าส์ที่มีเนื้อค่อนข้างจำกัด แต่ปัญหาที่ตามก็มักจะเป็นเรื่องของราที่มักขึ้นตามผนังบ้าน วันนี้เราเลยมีวิธีแก้ผนังบ้านเป็นรา จากการสร้างผนังบ้านติดแนวรั้วมาฝากกัน พร้อมเคล็ดลับเลือกรั้วบ้านให้เหมาะสม รวมไปถึงแนะนำข้อดีของการติดรางน้ำฝนป้องกันความชื้นให้ผนังบ้าน รู้จักกฎหมายควบคุมอาคาร ก่อนสร้างผนังบ้านติดแนวรั้ว หากจะว่ากันตามหลักกฎหมายควบคุมอาคาร ผนังอาคารที่เป็นลักษณะผนังทึบจะต้องห่างจากเขตที่ดินไม่น้อยกว่า 50 ซม. (หรือไม่น้อยกว่า 1 เมตร สำหรับบ้านที่อยู่ในเขต กทม. ที่มีพื้นที่ใช้สอยเกิน 300 ตร.ม.) แต่หากมีความประสงค์จะสร้างชิดเขตที่ดินต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของที่ดินข้างเคียงเป็นลายลักษณ์อักษรเสียก่อน ฉะนั้นเจ้าของบ้านท่านใดต้องการที่จะต่อเติมก็ควรที่จะเรียนรู้เรื่องกฎหมายและดำเนินการให้ถูกขั้นตอน เพื่อป้องกันการฟ้องร้องกันในภายหลัง เชื่อเถอะว่าการฟ้องร้องกันด้วยเรื่องนี้หาข้อสรุปได้ยาก แถมยังเสียทั้งเวลาและเงินไปโดยเปล่า

ผีเสื้อหางยาวตาเคียวปีลายหยัก มอธผีเสื้อกลางคืน ใกล้สูญพันธุ์

ผีเสื้อหางยาวตาเคียวปีกลายหยัก ผีเสื้อหางยาวตาเคียวปีกลายหยัก ชื่อวิทยาศาสตร์ Actias maenas Doubleday อยู่ในวงศ์ Saturniidae มีชื่อสามัญ ภาษาอังกฤษว่า The Moon Moth ผีเสื้อหางยาวตาเคียวปีกลายหยัก เป็นผีเสื้อกลางคืน หรือ มอธ อยู่ในกลุ่มแมลงคุ้มครองตาม พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2562 สถานภาพหายากใกล้สูญพันธุ์ ห้ามซื้อขายและมีไว้ครอบครอง ดูเพิ่มเติม ↓ หนังสือ"ผีเสื้อ แสนสวย" ราคาถูก » ลักษณะ ลำตัวมีขนหนา ปลายหนวดแตกเป็นขนนก ปีกหน้า ตัวผู้ สีเหลืองมะนาว กลางปีกมีแถบสีน้ำตาลอมชมพู และสีน้ำตาลอ่อนถึงน้ำตาลแดง จุดตารูปเคียวสีทองแดงที่กลางปีกติดกับขอบปีก ตัวเมีย สีจางกว่า เป็นสีเหลืองอ่อน จุดตารูปเคียวสีทองขนาดใหญ่ ปีกหลัง ตัวผู้ สีเหมือนปีกหน้า แต่มีหางยาวปลายหางรูปธง มีขนหนาที่ขอบปีกติดกับท้อง จุดตารูปไข่หรือกลม ตัวเมีย จุดตาเป็นรูปไต สีส้มเหลืองถึงเหลืองจาง หางยาวปลายหางรูปธง ,ด้านท้อง ปีกหน้า ตัวผู้ สีจางกว่าด้านหลัง จุดและเส้นสีน้ำตาลเทา จุดตาสีน้ำตาล  ปีกหลัง ตัวผู้ มีเส้นขวาง 2 เส้น ตัวเมีย มีเส้นขวาง 1 เส้น จุดตาสีชมพู รูปไข

กุหลาบพุกาม : Pereskia bleo

กุหลาบพุกาม ไม้ดอกที่พบในประเทศไทย กุหลาบพุกาม ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pereskia bleo (Kunth) DC. วงศ์: Cactaceae ชื่ออื่น: Wax Rose

ตันหยง : Caesalpinia coriaria

ตันหยง ไม้ดอกหอมที่พบในประเทศไทย ตันหยง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Caesalpinia coriaria (Jacq.) Willd. วงศ์: Fabaceae ชื่ออื่น: Divi-divi

กระเจี๊ยบมอญ : Abelmoschus esculentus

กระเจี๊ยบมอญ พืชกินได้ที่พบในประเทศไทย กระเจี๊ยบมอญ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Abelmoschus esculentus (L.) Moench วงศ์: Malvaceae ชื่ออื่น: กระเจี๊ยบ, กระเจี๊ยบมอญ, มะเขือทะวาย, มะเขือมอญ, มะเขือพม่า, มะเขือมื่น, มะเขือละโว้

พริกนกหมอคาร์ : Orophea kerrii

พริกนกหมอคาร์ ไม้ดอกหอมที่พบในประเทศไทย พริกนกหมอคาร์ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Orophea kerrii Kessler วงศ์: Annonaceae ชื่ออื่น: พริกนก

โมกเหลือง : Wrightia viridiflora

โมกเหลือง ไม้ดอกหอมที่พบในประเทศไทย โมกเหลือง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Wrightia viridiflora Kerr วงศ์: Apocynaceae ชื่ออื่น: โมกเหลืองอมเขียว

โมกเขา : Wrightia lanceolata

โมกเขา ไม้ดอกหอมที่พบในประเทศไทย โมกเขา ชื่อวิทยาศาสตร์ : Wrightia lanceolata Kerr วงศ์: Apocynaceae ชื่ออื่น: โมกภูเขา, โมกราชินีดอกสีส้ม

โมกแดงเขาใหญ่ : Wrightia coccinea

โมกแดงเขาใหญ่ ไม้ดอกหอมที่พบในประเทศไทย โมกแดงเขาใหญ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Wrightia coccinea (Roxb.) Sims วงศ์: Apocynaceae ชื่ออื่น: มูกขน